ជ្រុងនៃសុខភាពភ្នែក : #หิน

តម្រៀប

Dry eyes

Dry eyes ទឹកភ្នែកដើរតួនាទីយ៉ាងសំខាន់ក្នុងការរក្សាភ្នែករបស់យើងឱ្យមានសំណើម, ធានាឱ្យឃើញច្បាស់ដោយអនុញ្ញាតឱ្យពន្លឺឆ្លងកាត់កែវភ្នែកប្រកបដោយប្រសិទ្ធភាព និងផ្គត់ផ្គង់អុកស៊ីហ្សែនចិញ្ចឹមភ្នែក។ វាក៏ជួយការពារការឆ្លងមេរោគនិងសារធាតុផ្សេងៗផងដែរ។    នៅពេលដែលភ្នែកស្ងួត, វាជាបញ្ហាទូទៅមួយដែលអាចកើតឡើងពីការផលិតទឹកភ្នែកមិនប្រក្រតីឬទឹកភ្នែកមានការហួតលឿនពេក។ វាអាចធ្វើអោយមានភាពមិនស្រណុក, ក្រហាយ, មានអារម្មណ៍ថាដូចមានអ្វីនៅក្នុងភ្នែករបស់អ្នក, ភ្នែកមានសភាពក្រហម, រោយ, មើលឃើញព្រិលៗដែលទទួលភាពប្រសើរជាមួយការព្រិចភ្នែក, ឬសូម្បីតែមានអារម្មណ៍ថារោយភ្នែក។ ហេតុផលដែលមានភ្នែកស្ងួតអាចមានការប្រែប្រួលនៅពេលកាន់តែចាស់ឬជាស្រ្ដី (យេស៎, យើងងាយនឹងរងនូវភ្នែកស្ងួត) ការអាលាក់ហ្សីជាមួយថ្នាំ, ការចំណាយជាច្រើនពេលទៅលើ Screens, នៅទីកន្លែងដែលមានដី ផ្សែង ឬ មានខ្យល់ខ្លាំងនិងមានពន្លឺច្រើន, រួមបញ្ចូលទាំងអស់។    ប៉ុន្ដែមានដំណឹងល្អនោះគឺជាពិធីនៃការព្យាបាលភ្នែកស្ងួត:   ការចៀសឆ្ងាយពីអ្វីដែលអាចធ្វើអោយវាកាន់តែអាក្រក់ដូចជាខ្យល់ខ្លាំងនិងធូលីដីដោយគ្រាន់តែពាក់វែនតានិងការការពារភ្នែក។ ចងចាំថាត្រូវសំរាកឬព្រិចភ្នែកអោយបានញឹកញាប់ ជាពិសេសនៅពេលអ្នកជាប់ជាមួយ Screen ខណៈណាមួយ។  អ្នកទទួលបាននូវថ្នាំបណ្ដក់ភ្នែកដែលហៅថាទឹកភ្នែកសុប្បនិមិត្ត។ មានពីប្រភេទគឺសម្រាប់ពេលថ្ងៃ (ទឹកច្រើន) និងពេលយប់ (ក្រាស់បន្ដិច) ដែលត្រូវប្រើអាស្រ័យទៅលើស្ថានភាពភ្នែកស្ងួតរបស់អ្នក។  ពេលខ្លះពេទ្យរបស់អ្នកអាចនែនាំថ្នាំបណ្ដក់ភ្នែកពិសេសដែលជំរុញអោយភ្នែករបស់អ្នកបង្កើតទឹកភ្នែកបានច្រើន។  ផ្ដល់ការព្យាបាលភ្នែករបស់អ្នកជាមួយក្រណាត់ស្អាតហើយក្ដៅឧន្ឌៗ រួចស្អំលើភ្នែកដើម្បីជូយអោយមានអារម្មណ៍ល្អប្រសើរ។ ប្រសិនបើភ្នែកស្ងួតកាន់តែខ្លាំងហើយមិនប្រសើរឡើង ការជជែកជាមួយគ្រូពេទ្យភ្នែកគឺជារឿងល្អ។   សរុបមក ភ្នែកស្ងួតអាចជាបញ្ហារំខានមួយ ប៉ុន្តែមានដំណោះស្រាយនៅទីនោះ។ វាជារឿងសំខាន់ក្នុងការថែរក្សាភ្នែករបស់អ្នកឱ្យបានល្អ ជាពិសេសនៅពេលដែលមានសភាពស្ងួតនៅខាងក្រៅ (អាកាសធាតុស្ងួត)។ ប្រសិនបើអ្នកសង្ស័យថាអ្នកមានបញ្ហាភ្នែកស្ងួត ការជជែកជាមួយអ្នកជំនាញផ្នែកថែរក្សាភ្នែកគឺជាទង្វើដ៏ឆ្លាតវៃ។
អាន​បន្ថែម
Glaucoma Center

วิธีรักษาต้อหิน พร้อมแนวทางการป้องกันไม่ให้เกิดต้อหิน

ต้อหินมักเกิดจากปัจจัยภายในที่ควบคุมไม่ได้ ไม่ว่าจะเป็นอายุที่มากขึ้น พันธุกรรม โรคเบาหวาน และความผิดปกติของโครงสร้างลูกตา ซึ่งล้วนส่งผลให้ความดันตาสูงขึ้น จนไปกดทับเส้นประสาทตา ส่งผลให้เส้นประสาทตาเสื่อมสภาพและถูกทำลายอย่างช้าๆ และเกิดเป็นต้อหินในท้ายที่สุด วิธีรักษาต้อหินรวมทั้งการประคองอาการทำได้หลายวิธี ตั้งแต่การใช้ยาหยอดตา การจ่ายยาเพื่อรับประทาน การทำเลเซอร์ ไปจนถึงการผ่าตัดระบายน้ำหล่อเลี้ยงดวงตา ป้องกันต้อหินได้ด้วยการหมั่นตรวจสุขภาพดวงตา และปรับเปลี่ยนการใช้ชีวิตประจำวัน เช่น เลือกกินอาหารบำรุงดวงตา ออกกำลังกายเป็นประจำ นอนหมอนสูง และสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันดวงตาเมื่อต้องออกแดด แนะนำมารักษาต้อหินได้ที่Bangkok Eye Hospital (โรงพยาบาลจักษุกรุงเทพ)ที่นี่มีจักษุแพทย์ผู้เชี่ยวชาญคอยให้คำปรึกษาตั้งแต่ขั้นตอนการวินิจฉัย ให้คำแนะนำ ตลอดจนการรักษาด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย ปลอดภัย ให้ผลลัพธ์การรักษาที่มีประสิทธิภาพ   ต้อหิน เป็นภัยเงียบที่สังเกตอาการได้ยาก ผู้ป่วยบางคนอาจรู้ตัวเมื่อสายไป ส่งผลให้สูญเสียการมองเห็นอย่างถาวรได้เลยทีเดียว! มาทำความรู้จักกับโรคต้อหินให้มากขึ้น หาสาเหตุและอาการ กลุ่มเสี่ยงเป็นต้อหินที่ควรรู้ ตลอดจากการวินิจฉัยและวิธีการรักษาต้อหิน มีรายละเอียดอย่างไรบ้าง หาคำตอบได้ที่นี่     รู้จักกับต้อหิน มีสาเหตุและอาการอย่างไร ต้อหินคือหนึ่งในกลุ่มโรคต้อโดยเป็นโรคที่เกี่ยวข้องกับความผิดปกติของเส้นประสาทตาที่เป็นตัวนำกระแสการมองเห็นสู่สมอง หากเส้นประสาทตาถูกทำลายก็จะสูญเสียลานสายตา ส่งผลให้เส้นประสาทตาเสื่อมสภาพและถูกทำลายอย่างช้าๆ หากปล่อยทิ้งไว้ไม่รักษา อาจนำไปสู่การสูญเสียการมองเห็นได้อย่างถาวร และไม่สามารถรักษาให้กลับมาเป็นปกติได้ ต้อหินมักเกิดจากปัจจัยภายในที่ควบคุมไม่ได้ ไม่ว่าจะเป็นอายุที่มากขึ้น พันธุกรรม โรคเบาหวาน และความผิดปกติของโครงสร้างลูกตา ปัจจัยเหล่านี้เป็นต้นตอที่ทำให้ความดันภายในลูกตาสูงขึ้นจนกดทับเส้นประสาทตาจนเกิดความเสียหาย นอกจากนี้ อุบัติเหตุที่ส่งผลกระทบต่อดวงตา อาจทำให้ความดันตาสูงขึ้นจนเป็นเหตุให้เกิดต้อหินได้เช่นกัน อาการของต้อหินในระยะเริ่มแรกมักไม่แสดงอาการที่ชัดเจน ผู้ป่วยอาจสังเกตเห็นเพียงแค่ขอบภาพมัวลง หรือมีจุดบอดเล็กๆ ในสายตา แต่เมื่อปล่อยไว้นานขึ้นโรคก็จะยิ่งรุนแรงขึ้น อาจมีอาการเห็นภาพซ้อน หรือมองเห็นเป็นแสงวาบได้ ดังนั้น หากสังเกตเห็นอาการผิดปกติเกี่ยวกับสายตา ควรรีบปรึกษาจักษุแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัยและหาวิธีรักษาต้อหิน     กลุ่มคนที่เสี่ยงเป็นต้อหินมากที่สุด แม้ว่าต้อหินเกิดจากปัจจัยภายในที่ควบคุมไม่ได้ แต่ก็มีกลุ่มเสี่ยงที่มีโอกาสเป็นต้อหินมากกว่ากลุ่มคนทั่วไปอยู่ หากคุณเป็นหนึ่งในกลุ่มเสี่ยงเหล่านี้ ควรตรวจสายตาเป็นประจำ หรือ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อสังเกตอาการต้อหินอย่างใกล้ชิด และหาวิธีรักษาต้อหินได้อย่างทันท่วงที   กลุ่มผู้สูงอายุเพราะโครงสร้างของดวงตาจะเสื่อมสภาพตามวัย กลุ่มผู้ที่มีประวัติครอบครัวเป็นต้อหินเพราะพันธุกรรมมีส่วนสำคัญในการกำหนดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคนี้ กลุ่มผู้ที่มีความดันตาสูงความดันภายในลูกตาที่สูงขึ้นเรื้อรังจะกดทับเส้นประสาทตา ทำให้เกิดความเสียหายได้ง่าย กลุ่มผู้ที่มีสายตาสั้นหรือยาวมากรูปร่างของลูกตาที่ผิดปกติอาจส่งผลต่อการระบายน้ำในลูกตา ทำให้ความดันตาสูงขึ้นได้ กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานเพราะโรคเบาหวานสามารถทำลายหลอดเลือดฝอยที่เลี้ยงเส้นประสาทตาได้ กลุ่มผู้ที่เคยผ่าตัดตาเพราะการผ่าตัดบางชนิดอาจเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดต้อหิน กลุ่มผู้ที่ใช้ยาบางชนิดเป็นเวลานานเช่น สเตียรอยด์ที่อาจเพิ่มความดันในลูกตา กลุ่มผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยงอื่นๆเช่น มีขั้วตาใหญ่ เคยได้รับอุบัติเหตุที่ตา หรือมีโรคทางระบบอื่นๆ อย่างโรคไทรอยด์เป็นพิษ ระยะเวลาของการเกิดต้อหิน ระยะเวลาในการเกิดต้อหินตั้งแต่เริ่มแรกไปจนถึงการสูญเสียการมองเห็นอย่างถาวรใช้เวลาประมาณ 5 - 10 ปี โดยเฉพาะโรคต้อหินที่มีสาเหตุมาจากความเสื่อมสภาพตามวัย ทั้งนี้ ระยะเวลาขึ้นอยู่กับว่าผู้ป่วยตรวจพบต้อหินในระยะไหนด้วย หากพบไวก็จะหาวิธีรักษาต้อหินได้ไว แต่หากตรวจพบต้อหินในระยะท้าย อาจหาวิธีการรักษาต้อหินได้ยาก หรืออาจสูญเสียการมองเห็นภายในไม่กี่เดือน     วิธีการตรวจวินิจฉัยเพื่อรักษาต้อหิน วิธีการตรวจวินิจฉัยเพื่อหาวิธีรักษาต้อหิน แพทย์จะเริ่มต้นจากการซักประวัติ จากนั้นจะตรวจสายตาโดยละเอียด ซึ่งมีวิธีการตรวจดังนี้   การวัดสายตา การวัดความดันในลูกตา การตรวจขั้วประสาทตาและจอตา การตรวจดูลานตา การวัดความหนาของกระจกตา การตรวจมุมระบายน้ำหล่อเลี้ยงในลูกตา     วิธีรักษาต้อหินหรือกลับมาใกล้เคียงปกติ วิธีการรักษาต้อหินหรือประคองอาการไม่ให้ประสาทตาถูกทำลายมากขึ้น และคงการมองเห็นเอาไว้ให้กลับมาใกล้เคียงปกติมีอยู่หลายวิธี โดยจักษุแพทย์จะพิจารณาการรักษาแต่ละวิธีจากสาเหตุ อาการ และความรุนแรงของอาการ ดังนี้ การรักษาต้อหินโดยใช้ยาหยอดตา โดยทั่วไปแล้ว การรักษาต้อหินมักจะใช้วิธีการจ่ายยาหยอดตาที่มีส่วนช่วยลดความดันภายในลูกตา เพื่อลดการกดทับของเส้นประสาทในดวงตา ตัวยาจะเข้าไปลดการสร้างน้ำในดวงตา หรืออาจช่วยเพิ่มอัตราการไหลออกของน้ำหล่อเลี้ยงลูกตา โดยมีกลุ่มยาหยอดตาที่แพทย์พิจารณาใช้ ดังนี้   ยาต้านเบต้า (Beta-blockers)ลดการผลิตน้ำหล่อเลี้ยงในลูกตา ทำให้ความดันภายในลูกตาลดลง ยาคาร์บอนิกแอนไฮเดรสอินฮิบิเตอร์ (Carbonic Anhydrase Inhibitors)ยับยั้งการสร้างน้ำหล่อเลี้ยงในลูกตา โปรสตาแกลนดินแอนะล็อก (Prostaglandin Analogs)เพิ่มการระบายน้ำหล่อเลี้ยงออกจากลูกตา อะดรีนเนอร์จิกอะโกนิสต์ (Adrenergic Agonists)ทำให้รูม่านตาหดตัวและช่วยเพิ่มการระบายน้ำหล่อเลี้ยง พาราซิมพาโทมิเมติก (Parasympathomimetics)ทำให้รูม่านตาหดตัวและช่วยเพิ่มการระบายน้ำหล่อเลี้ยง     การรักษาต้อหินโดยการรับประทานยา หากการรักษาต้อหินโดยยาหยอดตาไม่ได้ผล จักษุแพทย์จะพิจารณาจ่ายยาชนิดรับประทานให้ผู้ป่วย โดยใช้ยาคาร์บอนิก แอนไฮเดรส อิฮิบิเตอร์ (Carbonic Anhydrase Inhibitors) ที่มีทั้งชนิดเม็ดและยาหยอดตา มีส่วนช่วยลดการสร้างของเหลวในลูกตา ทำให้ความดันภายในตาลดลง การรักษาต้อหินด้วยเลเซอร์ การรักษาต้อหินด้วยเลเซอร์มีจุดมุ่งหมายเพื่อระบายน้ำในตาออก ลดความดันภายในดวงตา ซึ่งการใช้เลเซอร์แบ่งออกเป็น 2 ชนิดขึ้นอยู่กับชนิดของต้อหิน ดังนี้   ใช้เลเซอร์กับต้อหินมุมปิดโดยจักษุแพทย์จะยิงเลเซอร์เข้าไปรักษาต้อหิน โดยเจาะรูเล็กๆ บนม่านตา เพื่อสร้างช่องทางให้ของเหลวในลูกตาไหลเวียนได้สะดวกขึ้น เหมาะสำหรับผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดต้อหินมุมปิดเฉียบพลัน ใช้เลเซอร์กับต้อหินมุมเปิดโดยจักษุแพทย์จะยิงเลเซอร์พลังงานต่ำเข้าไปรักษาต้อหิน โดยยิงไปที่บริเวณมุมระบายน้ำของลูกตา เพื่อกระตุ้นให้เซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการระบายน้ำทำงานได้ดีขึ้น     การรักษาต้อหินด้วยการผ่าตัด จักษุแพทย์จะพิจารณาผ่าตัดต้อหินเพื่อสร้างช่องทางระบายน้ำภายในลูกตาที่มีขนาดเล็กประมาณ 1 - 1.5 มิลลิเมตร เพื่อให้ความดันในลูกตาต่ำลง ลดโอกาสกดทับเส้นประสาทตาที่เป็นต้นตอของต้อหิน โดยจักษุแพทย์จะมีแนวทางการผ่าตัดรักษาต้อหิน ดังนี้ 1. ผ่าตัดรักษาต้อหินด้วยวิธี Trabeculectomy ผ่าตัดรักษาต้อหินด้วยวิธี Trabeculectomy เป็นวิธีการผ่าตัดที่นิยมใช้มากที่สุด โดยการผ่าตัดสร้างแผ่นเนื้อเยื่อบางๆ ที่มุมระบายน้ำของลูกตา เพื่อให้น้ำหล่อเลี้ยงไหลออกจากลูกตาได้ง่ายขึ้น วิธีนี้จะช่วยลดความดันภายในลูกตาได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่มีความเสี่ยงที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น การรั่วของน้ำหล่อเลี้ยง การติดเชื้อ หรือการเกิดต้อกระจก 2. ผ่าตัดรักษาต้อหินด้วยวิธี Aqueous Shunt Surgery ผ่าตัดรักษาต้อหินด้วยวิธี Aqueous Shunt Surgery เป็นการผ่าตัดโดยการใส่ท่อระบายน้ำขนาดเล็กเข้าไปในลูกตา เพื่อเชื่อมต่อกับช่องว่างใต้เยื่อบุตาขาว ทำให้น้ำหล่อเลี้ยงไหลออกจากลูกตาได้โดยตรง วิธีนี้เหมาะสำหรับผู้ป่วยที่มีความดันตาสูงมาก หรือผู้ป่วยที่เคยผ่าตัด Trabeculectomy แล้วไม่ประสบความสำเร็จ 3. ผ่าตัดรักษาต้อหินด้วยวิธี Xen Implantation ผ่าตัดรักษาต้อหินด้วยวิธีXen Implantationเป็นการผ่าตัดเพื่อใส่ท่อระบายน้ำขนาดเล็กและยืดหยุ่นเข้าไปในดวงตา เพื่อสร้างทางระบายใหม่สำหรับของเหลวภายในลูกตา จากนั้นของเหลวส่วนเกินก็จะไหลออกจากตัวท่อไปยังใต้เยื่อบุตาขาว ส่งผลให้ความดันตาลดลง     ขั้นตอนการผ่าตัดรักษาต้อหิน การผ่าตัดรักษาต้อหินมีขั้นตอนหลักๆ ดังนี้   วิสัญญีแพทย์จะให้ยาชาเฉพาะที่บริเวณดวงตา หรืออาจให้ยาสลบในบางกรณี จักษุแพทย์จะผ่าตัดเพื่อสร้างช่องทางระบายน้ำหล่อเลี้ยงในลูกตา โดยวิธีการผ่าตัดจะแตกต่างกันไปตามชนิดของการผ่าตัด หลังจากทำการสร้างช่องทางระบายน้ำแล้ว จักษุแพทย์จะทำการเย็บปิดแผล     ผ่าตัดต้อหินเตรียมตัวอย่างไรและพักฟื้นกี่วัน? ผ่าตัดต้อหินพักฟื้นกี่วัน? โดยทั่วไปแล้วระยะเวลาในการพักฟื้นหลังการผ่าตัดต้อหินจะแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล อาจใช้เวลาประมาณ 1 - 2 สัปดาห์ในการพักฟื้นที่บ้าน และอาจต้องใช้เวลาอีกหลายสัปดาห์ในการกลับมาทำกิจกรรมประจำวันได้ตามปกติ   และเพื่อให้วิธีการผ่าตัดรักษาต้อหินหรือประคองอาการได้อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด คนไข้ควรดูแลตัวเองทั้งก่อนและหลังการผ่าตัดอย่างถูกวิธี โดยมีแนวทางการดูแลตัวเองดังนี้ การเตรียมตัวก่อนผ่าตัดต้อหิน แจ้งประวัติสุขภาพทั้งหมดให้แพทย์ทราบ โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับโรคประจำตัว ยาที่กำลังรับประทาน และอาการแพ้ ตรวจสุขภาพ โดยแพทย์จะทำการตรวจตาและตรวจร่างกายโดยละเอียด เพื่อประเมินสภาพร่างกายก่อนการผ่าตัด หยุดยาบางชนิดก่อนการผ่าตัด เช่น ยาละลายลิ่มเลือด ยาแอสไพริน เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดเลือดออก งดอาหารและเครื่องดื่มก่อนการผ่าตัดตามเวลาที่แพทย์กำหนด หากต้องเข้าพักโรงพยาบาล ให้เตรียมเสื้อผ้าและของใช้ส่วนตัวที่จำเป็น ควรมีญาติหรือเพื่อนมาคอยดูแลหลังการผ่าตัด การดูแลตนเองหลังผ่าตัดต้อหิน หยอดยาตามที่จักษุแพทย์กำหนดอย่างเคร่งครัด เพื่อป้องกันการติดเชื้อและลดการอักเสบ หลีกเลี่ยงการขยี้ตา หลีกเลี่ยงการยกของหนัก หลีกเลี่ยงการก้มหน้า เพราะการก้มหน้าอาจทำให้น้ำหล่อเลี้ยงไหลออกจากลูกตาได้ หลีกเลี่ยงการทำกิจกรรมที่ใช้แรงมาก เช่น การออกกำลังกายหนัก การพักผ่อนจะช่วยให้ร่างกายฟื้นตัวได้เร็วขึ้น ติดตามผลการผ่าตัดและตรวจสอบภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น     แนวทางในการป้องกันต้อหิน อย่างที่ทราบกันไปแล้วว่าต้อหินมีอาการที่สังเกตเห็นได้ยาก บางรายอาจเสี่ยงสูญเสียการมองเห็นก่อนรู้ว่าเป็นต้อหินก็ได้ ดังนั้น การดูแลตัวเองอย่างถูกวิธีเพื่อป้องกันต้อหินจึงเป็นสิ่งสำคัญที่ควรรู้ โดยมีแนวทางดังนี้     ตรวจสายตาทุก 5 - 10 ปี ควรตรวจสุขภาพดวงตาเป็นประจำ ซึ่งความถี่อาจขึ้นอยู่กับอายุของแต่ละบุคคล ดังนี้   อายุต่ำกว่า 40 ปี ควรตรวจสุขภาพดวงตาทุก 5 - 10 ปี อายุ 40 - 54 ปี ควรตรวจสุขภาพดวงตาทุก 2 - 4 ปี อายุ 55 - 64 ปี ควรตรวจสุขภาพดวงตาทุก 1 - 3 ปี อายุ 65 ปีขึ้นไป ควรตรวจสุขภาพดวงตาทุก 1 - 2 ปี     การออกกำลังกาย การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอมีส่วนช่วยลดความดันภายในดวงตาลงได้ อย่างไรก็ตาม ควรปรึกษาแพทย์เพื่อหาแนวทางการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับสภาพร่างกายของแต่ละบุคคลด้วย รับประทานวิตามินบำรุงสายตา ควรเลือกกินอาหารที่มีวิตามินบำรุงสายตา เพื่อรักษาสุขภาพของดวงตาให้แข็งแรง โดยมีวิตามินที่แนะนำ เช่น วิตามินเอ (Vitamin A) วิตามินซี (Vitamin C) วิตามินดี (Vitamin D) และวิตามินอี (Vitamin E) เป็นต้น     สวมอุปกรณ์ป้องกันสายตา หากจำเป็นต้องออกแดด หรือต้องออกไปทำกิจกรรมกลางแจ้งบ่อยๆ เป็นเวลานานๆ แนะนำให้สวมอุปกรณ์ป้องกันสายตา เช่น แว่นดำ หรือหมวกที่มีปีก เพื่อป้องกันอาการบาดเจ็บของดวงตา และป้องกันการเสื่อมสภาพของดวงตาที่เป็นสาเหตุให้เกิดต้อหินได้ หนุนหมอนในระดับที่พอเหมาะ ควรนอนหนุนหมอนที่มีระดับความสูงประมาณ 20 องศา เพื่อลดความดันของลูกตาขณะนอนหลับได้อย่างมีประสิทธิภาพ รักษาต้อหินที่ศูนย์รักษาต้อหิน Bangkok Eye Hospital ดีอย่างไร หากเป็นต้อหิน แนะนำให้เข้ามาปรึกษาและรักษาอาการได้ที่ศูนย์รักษาต้อหิน Bangkok Eye Hospital (โรงพยาบาลจักษุกรุงเทพ)จักษุแพทย์ของเรา มีความเชี่ยวชาญด้านการรักษาอาการต้อหินทุกระยะ ด้วยทีมจักษุแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านการักษาต้อหินโดยเฉพาะ มีจุดเด่นดังนี้ โรงพยาบาลมีทีมจักษุแพทย์เฉพาะทางด้านต้อหิน ที่มากประสบการณ์ พร้อมให้คำปรึกษาเกี่ยวกับอาการผิดปกติ และแนะนำแนวทางการรักษาที่เหมาะสม เทคโนโลยีสำหรับการรักษาดวงตาสมัยใหม่ เครื่องมือได้มาตรฐานระดับสากล เพื่อการรักษาดวงตาอย่างแม่นยำและปลอดภัย พร้อมให้การรักษาอย่างครบวงจร ตั้งแต่การวินิจฉัย การรักษา ไปจนถึงการติดตามผลอย่างสม่ำเสมอ ใส่ใจในการบริการ พร้อมบรรยากาศของโรงพยาบาลที่เป็นกันเอง สรุป แม้ว่าจะไม่มีวิธีรักษาต้อหินได้ แต่ผู้ป่วยสามารถรีบรักษาเพื่อประคองและบรรเทาอาการ ป้องกันการสูญเสียการมองเห็นในระยะยาวได้ โดยควรตรวจสุขภาพดวงตาอย่างสม่ำเสมอ ออกกำลังกายเป็นประจำ เลือกกินอาหารที่มีสารอาหารบำรุงสุขภาพดวงตา นอนหมอนที่มีระดับเหมาะสม และสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันดวงตาทุกครั้งที่ต้องออกไปทำกิจกรรมกลางแจ้งเป็นเวลานาน เท่านี้ก็สามารถรักษาดวงตาให้สุขภาพดี ห่างไกลต้อหินได้แล้ว แนะนำมารักษาต้อหินได้ที่ศูนย์รักษาต้อหินBangkok Eye Hospital (โรงพยาบาลจักษุกรุงเทพ)ที่นี่มีจักษุแพทย์ผู้เชี่ยวชาญคอยให้บริการตั้งแต่ขั้นตอนการวินิจฉัย ให้คำปรึกษา ตลอดจนการรักษาด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย ปลอดภัย ให้ผลลัพธ์การรักษาที่มีประสิทธิภาพ
Cornea Center

ต้อเนื้อและต้อลม แตกต่างกันอย่างไร? |ศูนย์รักษาโรคกระจกตา โรงพยาบาลจักษุกรุงเทพ

ต้อเนื้อ (Pterygium) ต้อเนื้อคืออะไร: เป็นเนื้อเยื่อที่งอกผิดปกติจากเยื่อบุตาขาว ลักษณะเป็นแผ่นเนื้อรูปสามเหลี่ยม มีสีขาวขุ่นหรือเหลือง มักเกิดขึ้นบริเวณหัวตาและค่อยๆ ลุกลามเข้าสู่ตาดำ สาเหตุ  เกิดจากการระคายเคืองของเยื่อบุตาขาวจากแสงแดด ลม ฝุ่น หรือสารเคมีต่างๆ พบได้บ่อยในผู้ที่ทำงานกลางแจ้งหรือสัมผัสกับสิ่งระคายเคืองเหล่านี้เป็นประจำ อาการ  เริ่มแรกอาจไม่มีอาการ แต่เมื่อต้อเนื้อโตขึ้นอาจทำให้เกิดอาการระคายเคือง ตาแดง แสบตา น้ำตาไหล หรือรู้สึกเหมือนมีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในตา หากลุกลามไปถึงกลางตาดำ อาจทำให้การมองเห็นลดลง การรักษา: หยอดตา  หากมีอาการระคายเคือง ตาแห้ง แพทย์อาจแนะนำให้ใช้ยาหยอดตาเพื่อบรรเทาอาการ ผ่าตัด  หากต้อเนื้อมีขนาดใหญ่ ทำให้การมองเห็นลดลง หรือมีอาการรุนแรง แพทย์อาจแนะนำให้ผ่าตัดลอกต้อเนื้อออก ต้อลม (Pinguecula) ต้อลมคืออะไร: เป็นตุ่มนูนสีเหลืองที่เกิดขึ้นบนเยื่อบุตาขาว มักเกิดขึ้นบริเวณหัวตาใกล้กับต้อเนื้อ มีลักษณะคล้ายตุ่มไขมัน สาเหตุ คล้ายกับต้อเนื้อ คือ เกิดจากการระคายเคืองของเยื่อบุตาขาวจากแสงแดด ลม ฝุ่น หรือสารเคมีต่างๆ อาการ มักไม่ก่อให้เกิดอาการรุนแรง อาจมีอาการระคายเคือง ตาแห้ง หรือรู้สึกเหมือนมีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในตาบ้างเล็กน้อย การรักษา: หยอดตา หากมีอาการระคายเคือง ตาแห้ง แพทย์อาจแนะนำให้ใช้ยาหยอดตาเพื่อบรรเทาอาการ ผ่าตัด: ไม่จำเป็นต้องผ่าตัดออก ยกเว้นในกรณีที่ต้อลมมีขนาดใหญ่และรบกวนการมองเห็น หรือเปลี่ยนเป็นต้อเนื้อ ข้อแตกต่างระหว่างต้อเนื้อและต้อลม :: ลักษณะ :: ต้อเนื้อมีลักษณะเป็นแผ่นเนื้อรูปสามเหลี่ยมที่ลุกลามเข้าสู่ตาดำ ส่วนต้อลมมีลักษณะเป็นตุ่มนูนสีเหลืองที่ไม่ลุกลาม :: อาการ :: ต้อเนื้ออาจทำให้การมองเห็นลดลงได้ หากลุกลามไปถึงกลางตาดำ ส่วนต้อลมมักไม่ก่อให้เกิดอาการรุนแรง :: การรักษา :: ต้อเนื้ออาจจำเป็นต้องผ่าตัดออก หากมีขนาดใหญ่หรือรบกวนการมองเห็น ส่วนต้อลมมักไม่จำเป็นต้องผ่าตัด :: คำแนะนำ ::หากท่านมีอาการผิดปกติที่ดวงตา ควรรีบปรึกษาจักษุแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัยและรับการรักษาที่เหมาะสมนะครับ    บทความโดย นายแพทย์วิวัฒน์ โกมลสุรเดช ผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลจักษุกรุงเทพ
Laser Vision

ជំងឺដក់ទឹកក្នុងភ្នែកស្រួចស្រាវ

ជំងឺដក់ទឹកក្នុងភ្នែកស្រួចស្រាវ ឈ្មោះ​ជំងឺ​នេះ​ប្រាប់​យើង​រួច​ហើយ​ថា​វា​ស្រួចស្រាវ។ "ជំងឺដក់ទឹកក្នុងភ្នែកស្រួចស្រាវ" នឹងធ្វើឱ្យអ្នកជំងឺមានភ្នែកក្រហម ភ្នែកមិនច្បាស់ ឈឺភ្នែក និងងងឹតភ្នែកក្នុងរយៈពេលដ៏ខ្លី។ អ្វីគ្រប់យ៉ាងគឺភ្លាមៗ។   នៅក្នុងភ្នែករបស់យើង យើងមានទាំងទឹកថ្លា និងក្រាស់។ បណ្តាលឱ្យមានសម្ពាធជាក់លាក់មួយនៅក្នុងគ្រាប់ភ្នែក។ ដែលប្រសិនបើអ្នកប្រើឧបករណ៍ដើម្បីវាស់ អ្នកនឹងទទួលបានប្រហែល 10-20 មីលីម៉ែត្របារត។ សារធាតុរាវនៅក្នុងភ្នែក ចរាចរ និងផ្លាស់ប្តូរជាមួយនឹងឈាម។ មានទឹកហូរចូល និងចេញពីភ្នែកជាប្រចាំ។ ទឹកចូលនិងចេញនឹងមានតុល្យភាព។ សម្រាប់អ្នកដែលមានជំងឺដក់ទឹកក្នុងភ្នែកស្រួចស្រាវ បង្កឡើងដោយទឹកហូរចូលខុស។ ទឹក​ចេញ​ពី​ភ្នែក​តិច​ជាង​ទឹក​ចូល​ភ្នែក។ ធ្វើឱ្យសម្ពាធភ្នែកកើនឡើងយ៉ាងឆាប់រហ័ស សម្ពាធ​ភ្នែក​អាច​ត្រូវ​បាន​វាស់​ខ្ពស់​ដល់ 50-60 mmHg ។ ធ្វើឱ្យអ្នកជំងឺឈឺភ្នែក ភ្លាមៗ ឈឺក្បាលធ្ងន់ធ្ងរ សម្ពាធ​ខ្ពស់​នេះ​ធ្វើ​ឱ្យ​កែវភ្នែក​ថ្លា​ធម្មតា​ក្លាយជា​ពពក​ភ្លាមៗ​។ វាក៏ធ្វើឱ្យភ្នែករបស់អ្នកជំងឺងងឹតភ្លាមៗផងដែរ។   ជំងឺដក់ទឹកក្នុងភ្នែកស្រួចស្រាវអាចកើតមានតែចំពោះអ្នកដែលមាន រូបរាងមិនធម្មតានៃភ្នែក ក្រឡេកទៅខាងក្រៅ វាមើលទៅដូចជាគ្រាប់ភ្នែកធម្មតា។ រួមជាមួយនឹងលក្ខខណ្ឌបរិស្ថានដែលធ្វើឱ្យសិស្សរីកធំខុសពីធម្មតា ដូចជាការប្រើប្រាស់ថ្នាំមួយចំនួន ជំងឺនេះត្រូវបានរកឃើញញឹកញាប់ជាងចំពោះស្ត្រីវ័យចំណាស់។ នេះ​ក៏​ព្រោះ​តែ​មនុស្ស​ស្រី​មាន​ភ្នែក​តូច​ជាង​បុរស។ នៅពេលដែលយើងកាន់តែចាស់ ទំហំនៃកែវភ្នែកដែលនៅខាងក្នុងភ្នែកកើនឡើង។ (ដោយសារតែជាលិកាមួយចំនួននៃភ្នែកកាន់តែយ៉ាប់យ៉ឺនតាមអាយុ) បណ្តាលឱ្យមានបណ្តាញផ្សេងៗ ផ្នែកខាងក្នុងនៃភ្នែករួមតូច។   រោគសញ្ញា   នៅក្នុងអ្នកជំងឺមួយចំនួន វាអាចមានរោគសញ្ញាព្រមានមុនពេលចាប់ផ្តើមនៃជំងឺដក់ទឹកក្នុងភ្នែកស្រួចស្រាវ ដូចជាមានអារម្មណ៍ឈឺចាប់ក្នុងភ្នែកពេលប្រើភ្នែកច្រើន។ ចក្ខុវិស័យព្រិលបណ្តោះអាសន្ន ភ្នែកច្រើនតែព្រលប់នៅពេលព្រលប់។ ឬជួនកាលពណ៌ឥន្ទធនូអាចមើលឃើញជុំវិញភ្លើង។ ប៉ុន្តែនៅពេលដែលអ្នកសម្រាក រោគសញ្ញារបស់អ្នកនឹងប្រសើរឡើង។ ប៉ុន្តែ​រោគសញ្ញា​បែបនេះ​តែងតែ​កើតឡើង​។ ដូច្នេះមនុស្សចាស់ ជាពិសេសស្ត្រី ប្រសិនបើអ្នកមានរោគសញ្ញាទាំងនេះ អ្នកគួរតែទៅពិគ្រោះជាមួយគ្រូពេទ្យឯកទេសភ្នែកជាបន្ទាន់។ ប្រសិនបើគ្រូពេទ្យភ្នែករកឃើញរោគសញ្ញាទាំងនេះ រួមជាមួយនឹងភាពមិនធម្មតានៃផ្នែកខាងក្នុងតូចចង្អៀត ឬរាក់នៃភ្នែក វាអាចត្រូវបានការពារដោយការប្រើពន្លឺឡាស៊ែរ។ ដែលអាចការពារជំងឺនេះជារៀងរហូត។   អ្នកដែលមានកត្តាហានិភ័យនៃជំងឺដក់ទឹកក្នុងភ្នែកស្រួចស្រាវ   ទោះបីជាមូលហេតុពិតប្រាកដប្រហែលជាមិនត្រូវបានគេដឹង ដែលបណ្តាលឱ្យសម្ពាធភ្នែកកើនឡើងភ្លាមៗ ប៉ុន្តែគេអាចសន្និដ្ឋានបានថា ក្រុមដែលប្រឈមនឹងជំងឺដក់ទឹកក្នុងភ្នែកស្រួចស្រាវរួមមានៈ អ្នកជំងឺនៃពូជសាសន៍មួយចំនួន ដូចជាជនជាតិអាស៊ី គឺជារឿងធម្មតាជាងជនជាតិអឺរ៉ុប អ្នកជំងឺស្រីមានច្រើនជាងបុរស អ្នកកាន់តែចាស់ អ្នកទំនងជាទទួលបានវា។ ជាធម្មតាត្រូវបានរកឃើញចំពោះមនុស្សដែលមានអាយុលើសពី 60 ឆ្នាំ មានឪពុក ម្តាយ និង/ឬសាច់ញាតិដែលមានជំងឺនេះ នោះគឺជាជំងឺហ្សែន ភាគច្រើនជំងឺនេះកើតឡើងភ្លាមៗ។ ដោយមិនធ្លាប់មានជំងឺភ្នែកផ្សេងទៀតពីមុនមក ខ្លះបណ្តាលមកពីជំងឺភ្នែកមួយចំនួន ដូចជាជំងឺភ្នែកឡើងបាយ ដែលជំងឺភ្នែកឡើងបាយចាស់ ហើយមិនបានទៅវះកាត់ ឬគ្រោះថ្នាក់ដែលបណ្តាលឲ្យកែវភ្នែកផ្លាស់ប្តូរពីសភាពដើម។   ដូចដែលបានបញ្ជាក់រួចមកហើយ រោគសញ្ញាសំខាន់បីនៃជំងឺដក់ទឹកក្នុងភ្នែកស្រួចស្រាវគឺ ភ្នែកក្រហម ភ្នែកមិនច្បាស់ និងឈឺភ្នែក។ វាត្រូវបានចាត់ទុកថាជាគ្រាអាសន្ន។ អ្នកត្រូវតែទៅជួបគ្រូពេទ្យឯកទេសភ្នែកជាបន្ទាន់។ ប្រសិនបើវេជ្ជបណ្ឌិតធ្វើរោគវិនិច្ឆ័យបានលឿន ផ្តល់ថ្នាំដើម្បីកាត់បន្ថយសម្ពាធភ្នែក តាម​រយៈ​ការ​ប្រើ​ពន្លឺ​ឡាស៊ែរ រោគ​សញ្ញា​ទាំង ៣ ខាង​លើ​នឹង​បាត់​ទៅ​វិញ។ អ្នកជំងឺអាចទៅផ្ទះបាន។ ដោយមិនចាំបាច់ស្នាក់នៅមន្ទីរពេទ្យទាល់តែសោះ ដូច្នេះ អ្នកដែលមានកត្តាហានិភ័យគួរទៅពិនិត្យភ្នែក។ យ៉ាងហោចណាស់ 1 ដងក្នុងមួយឆ្នាំ។
Laser Vision

តើជំងឺដក់ទឹកក្នុងភ្នែកគឺជាការគំរាមកំហែងពិតប្រាកដមែនទេ?

តើជំងឺដក់ទឹកក្នុងភ្នែកគឺជាការគំរាមកំហែងពិតប្រាកដមែនទេ? ជំងឺដក់ទឹកក្នុងភ្នែក គឺជាជំងឺភ្នែកទូទៅដែលបង្កហានិភ័យយ៉ាងខ្លាំងនៃការបាត់បង់ការមើលឃើញជាអចិន្ត្រៃយ៍ នៅពេលដែលមិនបានព្យាបាល ឬនៅពេលដែលការព្យាបាលមិនជាប់លាប់។ វា​អាច​នាំ​ឱ្យ​ការ​មើលឃើញ​កាន់តែ​យ៉ាប់យ៉ឺន ធ្វើឱ្យ​វិស័យ​មើលឃើញ​រួម​តូច ហើយ​ក្នុងករណី​ធ្ងន់ធ្ងរ បាត់បង់​ការមើលឃើញ​ទាំងស្រុង​។ ការបាត់បង់ការមើលឃើញដោយសារជំងឺដក់ទឹកក្នុងភ្នែកគឺមិនអាចត្រឡប់វិញបាន និងមិនអាចស្តារឡើងវិញបានទេ។       តើជំងឺដក់ទឹកក្នុងភ្នែកគឺជាអ្វី?   មនុស្សជាច្រើនប្រហែលជាស៊ាំនឹងជំងឺភ្នែកឡើងបាយ ដែលជាស្ថានភាពមួយដែលកែវភ្នែកក្លាយជាពពក ដូចជាកញ្ចក់ដែលកក។ ជំងឺភ្នែកឡើងបាយច្រើនតែវិវត្តន៍ទៅតាមអាយុ ប៉ុន្តែវាអាចបណ្តាលមកពីមូលហេតុផ្សេងទៀត ដូចជាគ្រោះថ្នាក់ ឬកត្តាពីកំណើតជាដើម។ ជំងឺភ្នែកឡើងបាយប៉ះពាល់ដល់ភាពច្បាស់លាស់នៃការមើលឃើញ ប៉ុន្តែខុសពីជំងឺដក់ទឹកក្នុងភ្នែក ដែលកើតឡើងដោយសារសម្ពាធកើនឡើងនៅក្នុងភ្នែក និងការចុះខ្សោយនៃសរសៃប្រសាទអុបទិក ដែលនាំឱ្យបាត់បង់ការមើលឃើញ។ នៅពេលដែលសម្ពាធក្នុងភ្នែកកើនឡើង វាបង្ហាប់សរសៃប្រសាទអុបទិក បណ្តាលឱ្យខូចខាត។ សម្ពាធខ្ពស់យូរអាចបណ្តាលឱ្យបាត់បង់ការមើលឃើញ។ ការ​បាត់បង់​ការ​មើលឃើញ​ចាប់ផ្តើម​នៅ​គែម​ផ្នែក​ខាងក្រៅ​នៃ​កន្លែង​មើលឃើញ ហើយ​ប្រសិនបើ​មិន​បាន​ព្យាបាល​ទេ វា​នឹង​វិវត្តន៍​ទៅ​ជា​ញឹកញាប់​ដែល​ប៉ះពាល់​ដល់​ភ្នែក​ទាំងសងខាង​។       រោគសញ្ញានៃជំងឺដក់ទឹកក្នុងភ្នែក៖   ជំងឺដក់ទឹកក្នុងភ្នែករីកចម្រើនបន្តិចម្តងៗ ហើយអ្នកជំងឺជាច្រើនមិនបង្ហាញរោគសញ្ញានៅដំណាក់កាលដំបូងឡើយ។ ជារឿយៗ វាត្រូវបានគេធ្វើរោគវិនិច្ឆ័យថាជាជំងឺដក់ទឹកក្នុងភ្នែកដោយគ្មានការឈឺចាប់ ឬភាពមិនប្រក្រតីណាមួយឡើយ លើកលែងតែករណីជំងឺដក់ទឹកក្នុងភ្នែកស្រួចស្រាវ ដែលអាចបណ្តាលឱ្យមានភាពមិនច្បាស់ការមើលឃើញភ្លាមៗនៅពេលប៉ះនឹងពន្លឺភ្លឺ ឈឺភ្នែក និងឈឺក្បាល។ ជំងឺដក់ទឹកក្នុងភ្នែកអាចប៉ះពាល់ដល់មនុស្សគ្រប់វ័យ ប៉ុន្តែក្រុមមួយចំនួនមានហានិភ័យខ្ពស់ រួមទាំងអ្នកដែលមានអាយុលើសពី 60 ឆ្នាំ បុគ្គលដែលមានប្រវត្តិគ្រួសារនៃជំងឺដក់ទឹកក្នុងភ្នែក អ្នកជំងឺទឹកនោមផ្អែម អ្នកដែលមានសម្ពាធឈាមខ្ពស់ និងអ្នកដែលមានរាងភ្នែកមិនប្រក្រតី ទាំងការមើលឃើញខ្លី ឬ ភ្នែកវែង។   តើជំងឺដក់ទឹកក្នុងភ្នែកត្រូវបានព្យាបាលយ៉ាងដូចម្តេច?   ការព្យាបាលផ្តោតលើការកាត់បន្ថយសម្ពាធ intraocular (IOP) ដោយកាត់បន្ថយការផលិតទឹករំអិល ឬបង្កើនការបង្ហូររបស់វា។ វិធីសាស្រ្តផ្សេងៗអាចត្រូវបានអនុវត្តដូចជា ការបន្តក់ភ្នែក ថ្នាំមាត់ ការព្យាបាលដោយឡាស៊ែរ និងការវះកាត់។ ជម្រើសនៃការព្យាបាលគឺអាស្រ័យលើស្ថានភាពរបស់អ្នកជំងឺ និងប្រភេទនៃជំងឺដក់ទឹកក្នុងភ្នែកដែលពួកគេមាន។   ទោះជាយ៉ាងណាក៏ដោយ វាជារឿងសំខាន់ក្នុងការកត់សម្គាល់ថា ការព្យាបាលដក់ទឹកក្នុងភ្នែកមានគោលបំណងបញ្ឈប់ការវិវត្តនៃជំងឺនេះ ប៉ុន្តែមិនអាចស្តារការមើលឃើញដែលបានបាត់បង់នោះទេ។ ដូច្នេះហើយ ការការពារ និងអន្តរាគមន៍ទាន់ពេល គឺមានសារៈសំខាន់ ពីព្រោះជំងឺដក់ទឹកក្នុងភ្នែកក្នុងដំណាក់កាលដំបូងរបស់វា ជារឿយៗមិនមានរោគសញ្ញា ឬសញ្ញាព្រមាននោះទេ ការធ្វើការពិនិត្យភ្នែកជាប្រចាំដោយគ្រូពេទ្យឯកទេសភ្នែក គឺជារឿងចាំបាច់»។
calling
ទំនាក់ទំនងមកយើងខ្ញុំ : +662 511 2111