การควบคุมภาวะสายตาสั้นในเด็ก
เนื่องจากสายตาสั้นในเด็กเป็นภาวะที่ไม่สามารถทำให้หายขาดได้แต่สามารถควบคุมให้เพิ่มขึ้นน้อยที่สุดหรือเพิ่มขึ้นช้าลง ทางการเเพทย์จึงใช้คำว่า "ควบคุม" แทนคำว่า "รักษา" แน่นอนว่าลักษณะดวงตาและสภาวะสายตาของเด็กแต่ละคนไม่เหมือนกัน จึงจำเป็นที่จะต้องได้รับการวินิจฉัยจากจักษุเเพทย์ก่อน เพื่อประเมินเข้ารับการใช้ยาหรือใส่คอนเเทคเลนส์เพื่อควบคุมสายตาสั้นสำหรับเด็ก
คุณสมบัติและลักษณะเบื้องต้นของเด็กที่ควรเข้ารับการควบคุมสายตาสั้น
ทำไมเด็ก ๆ จึงควรที่จะได้รับการวินิจฉัยและเข้ารับการควบคุมสายตาสั้น
นอกจากอาการมองไม่ชัดแล้วสำหรับเด็กๆที่มีสายตาสั้นยังมีความเสื่ยงอื่นๆที่จะมีภาวะเเทรกซ้อนร่วมด้วย เช่น โรคจอประสาทตาหลุดหรือโรคต้อหิน โรคมาร์แฟนซินโดรม
ปัจจัยอื่น ๆ ที่ควรพิจารณาก่อนเข้ารับการควบคุมสายตาสั้นโดยจักษุเเพทย์
ท้ายที่สุดแล้ว แพทย์และผู้ปกครอง ควรตัดสินใจร่วมกันเพื่อพิจารณาการควมคุมสายตาสั้นในเด็กเพื่อให้ได้ผลลัพธ์สูงที่สุด